วันอาทิตย์ที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2552

อัจฉริยะของโลกมังสวิรัติ

อัจฉริยะของโลกมังสวิรัติ
Tagged with:
ชาร์ล ดาร์วิน (12 กุมภาพันธ์ 1809-19 เมษายน 1882) นักธรรมชาติวิทยาจากอังกฤษเจ้าของทฤษฎีด้านวิวัฒนาการสปีชีส์ของมนุษย์ ที่เรียกว่า natural selection: “The love for all living creatures is the most noble attribute of man.” “ความรักที่มีให้กับทุกสิ่งมีชีวิต เป็นคุณสมบัติที่สูงส่งที่สุดของมนุษย์”
ไอสไตน์ (14 มีนาคม 1879 – 18 เมษายน 1955) นักฟิสิกส์เจ้าของรางวัลโนเบลผู้ค้นพบทฤษฎีสัมพันธภาพ:“Nothing will benefit health or increase chances of survival on earth as the evolution to a vegetarian diet.” “ไม่มีอะไรที่จะดีต่อสุขภาพหรือเพิ่มโอกาสการอยู่รอดบนโลก ได้เหมือนกับการทานมังสวิรัติ” “Our task must be to free ourselves . . . by widening our circle of compassion to embrace all living creatures and the whole of nature and its beauty.” “งานของเราก็คือ การให้เราเองเป็นอิสระ…ด้วยการแผ่ขยายความเมตตาของเราให้กว้างขึ้น เพื่อโอบกอดทุกสิ่งมีชีวิต และธรรมชาติและความงดงามทั้งหมด”
โธมาส อัลวา เอดิสัน (11 กุมภาพันธ์ 1847 – 18 ตุลาคม 1931) นักประดิษฐ์ชาวอเมริกัน ผู้พัฒนาเครื่องมือมากมายที่เป็นประโยชน์ต่อมนุษยชาติ เช่น หลอดไฟฟ้า เครื่องเล่นเสียง เจ้าของลิขสิทธิ์ US patent 1,093 ชิ้น และอีกมากมายที่อังกฤษ ฝรั่งเศส และเยอรมัน: “Non-violence leads to the highest ethics, which is the goal of all evolution. Until we stop harming all other living beings, we are still savages.” “การไม่ใช้ความรุนแรง นำไปสู่จริยธรรมที่สูงที่สุด ซึ่งเป็นเป้าหมายของการวิวัฒนาการทั้งมวล ถ้าเรายังไม่หยุดทำร้ายทุกสิ่งมีชีวิตอื่นใด เราจะยังคงเป็นคนป่าเถื่อน”
นิโคลัส เทสลา (10 กรกฎาคม 1856 – 7 มกราคม 1943) วิศวกรเครื่องกลและไฟฟ้าชาวเซอร์เบีย ผู้ได้รับการยกย่องให้เป็นบิดาแห่งฟิสิกส์ ผู้มีผลงานทางทฤษฎีมากมายด้านกระแสไฟฟ้าสลับ เทคโนโลยีไร้สาย ฯลฯ : In an article for Century Illustrated Magazine he wrote: “It is certainly preferable to raise vegetables, and I think, therefore, that vegetarianism is a commendable departure from the established barbarous habit.” He also argued that animal slaughter was “wanton and cruel”. ในบทความหนึ่งในหนังสือ Century Illustrated Magazine เขาเขียนว่า “มันดีกว่าที่จะปลูกผัก และฉันคิดว่า การทานมังสวิรัติเป็นสิ่งที่ควรยกย่อง…” เทสลากล่าวด้วยว่า การฆ่าสัตว์ “ป่าเถื่อนและโหดร้าย”
ลีโอนาร์โด ดาวินชี่ (15 เมษายน 1452 – 2 พฤษภาคม 1519) นักวิทยาศาสตร์ วิศวกร นักประดิษฐ์ จิตกร สถาปนิก นักเขียน และนักดนตรี ชาวอิตาลี เจ้าของผลงานภาพวาด โมนาลิซ่า The Last Supper และผู้ออกแบบสิ่งประดิษฐ์มากมายเช่น เฮลิคอปเตอร์ เครื่องคิดเลข พลังงานแสงอาทิตย์ ทฤษฎีแผ่นโลก กายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์ ฯลฯ: “As long as men massacre animals, they will kill each other.” ตราบใดที่มนุษย์ยังฆ่าล้างสัตว์ ตราบนั้นพวกเขาจะฆ่ากันและกัน”“The time will come when men such as I will look upon the murder of animals as they now look upon the murder of men.” “ในอนาคต มนุษย์ เช่นฉัน จะมองการฆ่าสัตว์ เหมือนที่พวกเขามองการฆ่ามนุษย์ในตอนนี้”
จอร์จ เบอร์นาด ชอว์ (26 กรกฎาคม 1856-2 พฤศจิกายน 1950)นักประพันธ์บทละครชาวไอริช เจ้าของรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมปี 1925: “A man of my spiritual intensity does not eat corpses.” มนุษย์ที่มีจิตสำนึกเช่นฉัน ไม่กินศพ“While we ourselves are the living graves of murdered beasts, how can we expect any ideal conditions on this earth?” “ขณะที่เราเองเป็นหลุมศพของสัตว์ที่ถูกฆาตกรรม เราจะคาดหวังสภาวะที่ดีเลิศบนโลกนี้ได้อย่างไร?”
มาร์ค ทเวน (30 พฤศจิกายน 1835 – 21 เมษายน 1910)นักเขียนชาวอเมริกัน: “The pain which it inflicts upon unconsenting animals is the basis of my enmity toward it, and it is to me sufficient justification of the enmity without looking further.” “ความเจ็บปวดของสัตว์ผู้ไม่ยินยอม…สำหรับฉันแล้ว เป็นเหตุผลเพียงพอในการต่อต้าน [การฆ่าสัตว์] ของฉัน”
ปีธากอรัส (500 BC) นักคณิตศาสตร์ผู้ยิ่งใหญ่ของโลก: “For as long as men massacre animals, they will kill each other. Indeed, he who sows the seed of murder and pain cannot reap joy and love.” “ตราบใดที่มนุษย์ยังฆ่าล้างสัตว์ พวกเขาจะฆ่ากันและกัน ผู้ที่หว่านเมล็ดพันธุ์แห่งการฆ่าและความเจ็บปวด ไม่สามารถเก็บเกี่ยวความสุขและความรัก”
มหาตมคานธี (2 ตุลาคม 1869 – 30 มกราคม 1948) ผู้นำอินเดียสู่อิสรภาพ: “The greatness of a nation and its moral progress can be judged by the way its animals are treated.” “ความยิ่งใหญ่ของประเทศหนึ่ง และการพัฒนาทางศีลธรรมของมัน สามารถวัดได้จากวิถีที่สัตว์ได้รับการปฏิบัติ”“To my mind, the life of a lamb is no less precious than that of a human being.” “ในความคิดของฉัน ชีวิตของแกะตัวหนึ่ง มิได้มีค่าน้อยกว่าชีวิตของมนุษย์”
ลีโอ โทลสตอย (9 กันยายน 1828 – 20 พฤศจิกายน 1910)นักประพันธ์ชาวรัสเซีย: “As long as there are slaughterhouses, there will be battlefields.” “ตราบใดที่ยังมีโรงฆ่าสัตว์ ตราบนั้นจะยังคงมีสนามรบ”
ที่มา : Forward Mail

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น